🦖✨📢Seismic Test หรือ Low Strain Pile Integrity Test ใช้สำหรับทดสอบเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงและเสาเข็มเจาะ🦖 เป็นวิธีการทดสอบเสาเข็มเบื้องต้นที่ทำการติดตั้งด้วยวิธีการตอกหรือเจาะ🥇 โดยตรวจสอบสภาพความสมบูรณ์ต่อเนื่องของเนื้อคอนกรีตเป็นไปตามมาตรฐานการก่อสร้างหรือไม่📌 เช่น มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่หน้าตัดหรือไม่ ซึ่งมักเกิดจากรอยคอด (Neck) บวม (Bulge) โพรง (Void)👉✨👉✅
🥇🎯🦖Seismic Test วิธีการทดสอบนี้จะกระทำได้ง่ายสามารถกระทำการทดสอบเสาเข็ม (https://medium.com/@ktset1779/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5-seismic-integrity-test-astm-d-5882-16-%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87-0b3bc9831bde)ทุกต้น🦖 เนื่องจากมีราคาถูกกว่าวิธีอื่น ๆ แต่ค่าที่ได้มาอาจมีความคลาดเคลื่อนสูงเพราะใช้การเคาะที่หัวเข็มเพื่อส่งคลื่นไปตามความยาวของเข็มแล้วสะท้อนกลับมาที่หัวเข็ม⚡ ตรงหัวเข็มจะมีเครื่องรับสัญญาณคลื่นที่กลับมาเครื่องนี้จะแสดงออกมาเป็นกราฟ และบันทึกด้วยคอมพิวเตอร์🥇 แล้วนำมาอ่านค่าเพื่อทราบว่าตำแหน่งใดของเข็มที่เกิดรอยร้าวหรือรูพรุน และจะได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขเสาเข็มนั้น✨🦖📢🎯
(https://scontent.fbkk5-7.fna.fbcdn.net/v/t39.30808-6/337996658_935725074542206_1597208457602149776_n.jpg?stp=cp6_dst-jpg&_nc_cat=108&ccb=1-7&_nc_sid=127cfc&_nc_eui2=AeG0qZ7hkPXq2xdKS302GxdFGoi1FZLFcqAaiLUVksVyoHgEJX7oSuecwX5s2IWSqTnfS0SNctfk3h4I5W2P4mOi&_nc_ohc=irjPfnHbrToQ7kNvgFZPvaC&_nc_ht=scontent.fbkk5-7.fna&oh=00_AYBhof67RAN6YUN3IY5yaPDHk24W5QB22vb56PAqWE2DQA&oe=66A6AA4E)
✅🌏✨การแตกหักของเสาเข็มตอกเกิดจากเสาเข็มที่มีสภาพไม่สมบูรณ์เกินกว่าเกณฑ์ยอมรับ ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการรับน้ำหนัก🛒 โดยทำการติดตั้งตัวรับสัญญาณบนหัวเสาเข็ม (Accelerometer Sensor)✅ ซึ่งเป็นหัวสัญญาณไวสูงที่แปลงสัญญาณจาก Analog เป็น Digital👉 ซึ่งทำการเปิดหน้าดิน แล้วเตรียมหัวเสาเข็มเพื่อทำการทดสอบเสาเข็ม📌 เคาะหัวเสาเข็มด้วยค้อนทดสอบ (PIT Hand-Held Hammer) เพื่อสร้างคลื่นความเค้นอัด (Low-Strain Compression Wave) ที่ส่งลงไปในเสาเข็มและสะท้อนกลับขึ้นมาเป็นคลื่นในรูปแบบต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กับพื้นที่หน้าตัด🥇🦖📢📢
🌏⚡✨ประเภทของเสาเข็มที่ใช้กับบ้าน อาคาร และที่พักอาศัย พบได้ 3 ประเภท🌏✅👉📢
✨🛒📌🦖1. เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง ทำจากปูนซีเมนต์ชนิดแข็งตัวเร็วและโครงเหล็ก ภายในมีลวดเหล็กอัดแรงกำลังสูง การลงเสาเข็มชนิดนี้ใช้การตอกกระแทกด้วยปั้นจั่น วิธีนี้ง่าย สะดวก ไม่ซับซ้อน และประหยัด เหมาะกับบ้าน อาคารทั่วไป ที่มีพื้นที่กว้างและปราศจากอาคารข้างเคียง🎯📢🌏📌
✨🥇🛒📌2. เสาเข็มเจาะ ใช้เครื่องมือเจาะขุดดินลงไปให้ได้ขนาดและความลึกตามที่กำหนด แล้วใส่เหล็กเสริมและเทคอนกรีตหล่อเป็นเสาเข็ม เหมาะกับอาคารสูงที่ต้องรับน้ำหนักมาก พื้นที่จำกัด หรือชุมชนที่มีอาคารบ้านเรือนชิดกัน ป้องกันการสั่นสะเทือนต่ออาคารข้างเคียง🌏🌏✅🦖
🌏📢🌏⚡3. เสาเข็มโลหะ เช่นเสาเข็มเหล็ก เสาเข็มกัลวาไนซ์ เป็นโลหะและมีการชุบ หรือทาเคลือบด้วยวัสดุป้องกันสนิมอีกชั้น ติดตั้งได้ทั้งการตอกด้วยปั้นจั่น หรือด้วยระบบไฮดรอลิกส์ (Hydraulic) ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา จึงเหมาะกับการติดตั้งในพื้นที่แคบๆ และงานซ่อมแซมแก้ไขอาคารทรุด⚡🦖🌏📌
👉🌏📢การทดสอบเสาเข็มคอนกรีตจะบันทึกค่าต่าง ๆ เช่น โมดูลัสยืดหยุ่นของวัสดุ ความหนาแน่น ความเร็วคลื่น ซึ่งตัวรับสัญญาณจะบันทึกและแสดงผลในรูปแบบกราฟของความเร็วสัมพันธ์กับเวลา ผ่านเครื่องทดสอบ (Pile Integrity Tester, Pile Echo Tester) แล้วนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์และประมวลผลการทดสอบเสาเข็มด้วยโปรแกรม PET ตามมาตรฐาน ASTM D-5882🦖📌📌🌏
👉📌📌การทดสอบด้วยวิธี Seismic Test สะดวก รวดเร็ว ค่าใช้จ่ายไม่สูง สามารถทดสอบเสาเข็มทุกต้นได้ แต่ค่าอาจคลาดเคลื่อน นิยมใช้ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็มในขั้นต้น รายงานผลในรูปแบบของสภาพความสมบูรณ์ของเสาเข็มทดสอบ กราฟสภาพความสมบูรณ์ของเสาเข็ม และสรุปผลพร้อมเอกสารประกอบวิชาชีพทางวิศวกรรมโยธา🦖🎯🛒🌏
ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
เข้าใจแล้วครับ